การจ้างทำวิทยานิพนธ์ไม่ได้แปลว่า “โง่”
บทความนี้คุณอาจตกใจนิดหน่อยกับคำว่า “โง่” แต่ขอบอกเลยว่าเมื่ออ่านบทความนี้คุณจะเข้าใจว่าทำไมคนที่จ้างทำวิทยานิพนธ์ หรือว่าจ้างทำวิจัยอื่นๆ ถึงไม่ได้โง่ ถ้าเป็นเช่นนั้นคุณลองตอบคำถามที่เราจะถามต่อไปนี้สัก 2-3 ข้อ
ข้อ 1. ใบปริญญาบัตรที่ได้นั้นจากการศึกษานั้น ได้จากการทำงานวิจัยอย่างเดียวใช่หรือไม่?
ข้อ 2. หากผู้ว่าจ้างบริษัทรับทำวิจัยไม่ตรวจสอบผลงานวิจัย จะสามารถตอบคำถามอาจารย์ที่ปรึกษา และผ่าน thesis ได้ไหม?
และข้อ 3. ระหว่างความรู้ในห้องเรียนกับการทำ thesis อะไรสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิต?
เรามาเริ่มตอบคำถามเหล่านี้ทีละข้อกันดีกว่า เพื่อพิสูจน์ว่าคนจ้างทำวิทยานิพนธ์นั้น ไม่ได้โง่!!!
ข้อ 1. ใบปริญญาบัตรที่ได้นั้นจากการศึกษานั้น ได้จากการทำงานวิจัยอย่างเดียวใช่หรือไม่?
ในการจบการศึกษาจากรั้วมหาวิทยาลัย โดยได้รับใบปริญญาบัตรและได้สวมชุดครุยนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับ thesis เพียงอย่างเดียว ในการเรียนมหาวิทยาลัยมีปัจจัยหลายอย่างที่ต้องเชื่อมโยงกันจึงจะสามารถจบจากรั้วมหาวิทยาลัยได้
ไม่ว่าจะเป็นการจบชั้นปริญญาตรี ปริญญาโท หรือปริญญาเอก นักศึกษาทุกคนต้องเข้าคลาสเพื่อเรียนเอาความรู้ไปใช้ในการสอบ ในการจะจบปริญญาท่านต้องสามารถเข้าใจเนื้อหา และสอบผ่าน ท่านต้องผ่านกระบวนการเหล่านี้มาให้ได้ก่อน ท่านจึงจะได้ทำ thesis หากท่านไม่สามารถสอบผ่านไม่เข้าใจบทเรียนท่านคนถูกรีไทร์ออกไปนานแล้วใช่หรือไม่
ข้อ 2. หากผู้ว่าจ้างบริษัทรับทำวิจัยไม่ตรวจสอบผลงานวิจัย จะสามารถตอบคำถามอาจารย์ที่ปรึกษา และผ่าน thesis ได้ไหม?
การจ้างทำวิจัยถ้าสักแต่ว่าจะจ้างให้บริษัททำอย่างเดียว โดยที่ตัวผู้จ้างไม่ไม่มีความรู้ในการทำวิจัยอยู่เลย อีกทั้งยังไม่ศึกษางานวิจัยที่ทางบริษัทส่งไปให้ จะไม่สามารถตอบคำถามอาจารย์ที่ปรึกษาได้ และจะส่งผลให้ไม่ผ่าน thesis การที่ผู้ว่าจ้างจะจ้างให้บริษัททำงานวิจัยให้สักชิ้น ผู้ว่าจ้างต้องเป็นผู้กำหนดแนวทางการทำงานมาอย่างคร่าวๆ ให้บริษัทรับทำวิจัยเข้าใจและทำงานวิจัยออกมาให้ตรงตามความต้องการของผู้ว่าจ้าง ทำวิทยานิพนธ์
ซึ่งการว่าจ้างทำวิทยานิพนธ์จะต้องเป็นผู้กำหนดหัวข้องานวิจัย รวมไปถึงกำหนดกรอบแนวคิดและรายละเอียดที่ต้องการให้บริษัทรับทำวิจัยทราบ เพื่อให้งานออกมาตรงตามความต้องการมากที่สุด อีกทั้งผู้จ้างทำวิจัยต้องมีความรู้ ตรวจสอบงานได้ ต้องมีความเข้าใจในเนื้อหางานวิจัยที่ทางบริษัทส่งไปให้
และสิ่งสำคัญผู้จ้างทำวิทยานิพนธ์จะต้องสามารถทำความเข้าใจให้เชื่อมโยงกับวิทยานิพนธ์ของตน และนำข้อมูลความรู้ความเข้าใจไปสื่อสารให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันกับสิ่งที่บริษัททำไปให้ จึงจะทำให้การจ้างทำวิจัยประสบความสำเร็จ 100%
ข้อ 3. ระหว่างความรู้ในห้องเรียนกับการทำ thesis อะไรสามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิต?
ขอบอกตามตรงเลยว่า thesis ไม่ได้นำไปใช้ในชีวิตจริงของท่านอย่างแน่นอน เนื่องจากการทำ thesis นั้นคือการเจาะลึกเพื่อศึกษาอะไรบางอย่างเพียงอย่างเดียวอย่างเจาะจง อาทิเช่น ศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าที่มาใช้บริการโรงแรม ศึกษาการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าของกลุ่มวัยรุ่น เป็นต้น
แต่การศึกษาในห้องเรียนคือการศึกษาที่สามารถนำความรู้ไปใช้ได้ในชีวิตจริง โดยไม่เฉพาะเจาะจง คอนเฟิร์มได้เลยว่าในชีวิตจริงนั้น ในการทำงานท่านจะใช้ความรู้ที่ได้จากเรียนในคลาสมาปรับใช้ในการทำงานมากกว่านำ thesis มาปรับใช้แน่นอน
ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)