ตอบ 3 ข้อสงสัยที่ผู้วิจัยมือใหม่ไม่กล้าถาม

ผู้วิจัยมือใหม่หลายท่านส่วนใหญ่แล้ว ไม่ค่อยกล้าถาม หรือพูดคุยกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ด้วยเหตุผลที่ว่า

“ก็กลัวว่าอาจารย์จะมองว่าตนเองไม่สนใจศึกษาหาความรู้พื้นฐานด้วยตนเอง…”
“กลัวว่าอาจารย์จะตำหนิ หากอธิบายไปแล้วไม่เข้าใจ…”

อาจจะด้วยอคติหรือทัศนคติที่ส่วนใหญ่ ที่ไม่กล้ารบกวนอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ซึ่งนํามาสู่ปัญหาของการทำงานวิจัย ก่อให้เกิดความล่าช้าของกระบวนการทำงานวิจัย

“ทำไมความรู้ด้านการวิเคราะห์สถิติ ถึงไม่ใช่ความรู้พื้นฐานของการทำวิจัย?”

สถิติ หรือการวิเคราะห์สิติ เป็นสิ่งแรกที่ผู้วิจัยมือใหม่เป็นกังวล เพราะขาดความรู้ขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ ในการทำงานวิจัย จนเกิดคำถามที่ว่า :

“จําเป็นไหมที่จะต้องทําสถิติขั้นสูงในการทําการวิจัย” ตอบได้เลยว่า… “ไม่จำเป็น” 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย

เพราะ การทําวิจัยแต่ละครั้งจะต้องทำการกําหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะการกําหนดตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา และรูปแบบแบบสอบถาม ที่จะมีความแตกต่างไปในแต่ละบุคคล หรือว่าแต่ละหัวข้องานวิจัย ดังนั้นจึงไม่จําเป็นที่จะต้องใช้สถิติขั้นสูงเสมอไป

เนื่องจาก บางครั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยจะแนะนําให้ใช้เพียงโปรแกรม Excel หรือโปรแกรมสถิติสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สำหรับการตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยเรื่องนั้นๆ 

ซึ่ง บางหัวข้องานวิจัยไม่จำเป็นที่จะต้องใช้การวิเคราะห์สถิติเสมอไป อาจจะเป็นรูปแบบของการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้ Content Analysis เข้ามาเพื่อตอบวัตถุประสงค์งานวิจัย

หากท่านกําหนดรูปแบบการวิจัยเป็นประเภทที่ท่านถนัดจริงๆ ซึ่ง อาจารย์ส่วนใหญ่ก็จะแนะนําให้ท่านดําเนินการ จากสิ่งที่ท่านถนัดเป็นหลักอยู่แล้ว

“ทำไมอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยหลายท่าน จึงชอบให้ทำหัวข้อวิจัยที่ตัวท่านเองสนใจ มากกว่าหัวข้อที่ผู้วิจัยเสนอ?”

คําถามข้อนี้เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยหลายท่านที่เคยได้รับคำปรึกษาวิจัยจากทางเรา มักจะประสบปัญหากันเป็นส่วนใหญ่

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย

เพราะอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยมักจะแนะนําให้ทําหัวข้อที่อาจารย์ที่ปรึกษานั้นถนัด หรือมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการที่จะให้ความรู้ หรือให้คําแนะนํากับท่านได้

ซึ่งส่วนใหญ่หัวข้อที่ถูกแนะนํามาจากอาจารย์ที่ปรึกษาผู้วิจัยเองนั้นไม่มีความถนัด หรือไม่มีความเข้าใจในประเด็นหัวข้อที่อาจารย์ที่ปรึกษาแนะนำให้ทำ

ซึ่งจริงๆ แล้ว ทางเราอยากจะบอกว่า ปัญหานี้นั้นเป็นสิ่งที่มีประโยชน์สําหรับผู้วิจัยในการที่จะปรับตัวเข้าหาอาจารย์ที่ปรึกษาได้โดยง่าย สามารถที่จะปรับจูนหัวข้อแนวทางในการทำงานวิจัยให้อยู่ในความถนัดของอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการทํางานวิจัยให้สำเร็จได้โดยง่าย ลดระยะเวลาในการทําเป็นอย่างมาก เมื่อท่านทําในสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยถนัด 

“ประโยชน์จริงๆ ที่ผู้วิจัยจะได้รับจากการทำงานวิจัยคืออะไร?”

คําถามข้อนี้ สามารถแบ่งออกได้ 2 มุมมอง ที่อยากจะแนะนำ คือ

– มุมมองที่ 1 คือ ประโยชน์ที่ได้จากตัวผู้วิจัยเอง
การวิจัย คือการพัฒนา คือการแก้ไขปัญหา ดังนั้น หากท่านเข้าใจกระบวนการคิด กระบวนการทําการวิจัย ไม่ว่าท่านจะทําอาชีพ หรือว่าทํางานทําหน้าที่อะไร มันจะเป็นประโยชน์ต่อท่านในการจะไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต

สามารถวางแผนกระบวนการในการคิด การกําหนดวิธีการในสรุปประเด็นต่างๆ และวิธีแก้ไขปัญหาในการทำงานต่างๆ เพื่อใช้ในการพัฒนาตัวเอง พัฒนาองค์กร ธุรกิจ ตลอดจนพัฒนาชีวิตของตัวผู้วิจัยเองด้วย

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย

– มุมมองที่ 2 คือ ประโยชน์ต่อทางวิชาการและสังคม
งานวิจัย คือ กระบวนการดําเนินการศึกษาสืบค้นข้อมูลที่มีข้อเท็จจริงในการสนับสนุน มีการลงพื้นที่จริงในการเก็บข้อมูลวิจัยเพื่อทำการวิเคราะห์ผลที่ถูกต้อง ใช้ในการตีพิมพ์เผยแพร่ออกไป จะทําให้สังคมได้ประโยชน์จากแนวทางหรือวิธีการที่ท่านได้ผลการวิจัยนั้น

ซึ่งหากสามารถนํามาขยายผลและไปประยุกต์ใช้กับการแก้ไขปัญหาอื่นๆ ได้โดยภาพรวมแล้วสังคมจะดีขึ้นครับ

ใน 3 ข้อคำถามที่ได้ยกตัวอย่างมานี้ เป็นส่วนเล็กๆ ที่ผู้เรียนหรือผู้วิจัยไม่กล้าถาม ทำให้เกิดปัญหาและไม่ได้รับข้อมูลคำตอบที่ชัดเจน ซึ่งมันไม่ใช่สิ่งผิดแต่อย่างใด 

แต่จะเป็นทางที่ดีกว่าไหมหากเราได้รับคำตอบ หรือคำแนะนำที่ชัดเจน และเป็นประโยชน์ต่อดำเนินงาน โดยเฉพาะการขอคําแนะนําจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย จะช่วยลดระยะเวลาในการทํางานวิจัย รวมถึงลดข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นจากการทำงานวิจัยลงไปได้เป็นอย่างมาก

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

You cannot copy content of this page

error: Content is protected !!