การทำงานวิจัยของปริญญาโท ใครว่ายาก…

การทำวิจัยปริญญาโท หรือการทำวิทยานิพนธ์ (Thesis) เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิต ตามหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ ให้ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษาจะต้องทำวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ เพื่อค้นคว้าและพัฒนาองค์ความรู้ หรือค้นพบแนวทางการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพได้ 

ปัจจุบันการทำวิจัยปริญญาโท มีเงื่อนไขให้ผู้เรียนต้องตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการที่ได้ผ่านการรับรองคุณภาพหรือนำเสนอในงานประชุมทางวิชาการที่น่าเชื่อถือได้

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

ข้อดีของการทำวิจัยปริญญาโท

ผู้ที่เลือกแผนการเรียนประเภทการทำวิจัยจะได้เรียนรู้การทำงานวิจัยอย่างละเอียดทุกขั้นตอน แล้วได้ฝึกการทำวิจัยด้วยตนเองรายบุคคล โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยให้คำแนะนำ รวมถึงมีผู้ทรงคุณวุฒิทำหน้าที่เป็นกรรมการตรวจสอบคุณภาพของงานวิจัยด้วย จึงทำให้การทำงานวิจัยมีคุณภาพและน่าเชื่อถือ

บทที่ 1 บทนำ เป็นบทที่กล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญ

ในบทแรกของหัวข้อวิจัย จะต้องอธิบายถึงเหตุผล ความจำเป็น หรือปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น วัตถุประสงค์ของการวิจัยคืออะไรบ้าง ต้องระบุให้ชัดเจน

จากนั้นจึงกำหนดขอบเขตของการวิจัย และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับหลังจากการทำวิจัยเรื่องนี้แล้ว โดยวัตถุประสงค์กับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับหลังจากการทำวิจัยควรเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การทบทวนวรรณกรรมในบทที่ 2 จะเป็นการกล่าวถึงแนวคิด ทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการทำงานวิจัย รวมถึงรายงานการวิจัยหรือผลการศึกษาจากการทำวิจัยปริญญาโทที่มีอยู่ก่อนหน้านี้ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ

การเขียนเนื้อหาในบทนี้ผู้เขียนควรอ่านและศึกษาจากเอกสารทางวิชาการต่างๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ แล้วนำมาสังเคราะห์หรือเรียบเรียงให้เป็นสำนวนของตนเอง

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย เป็นบทที่อธิบายขั้นตอนการทำวิจัย

บทที่ 3 เป็นเนื้อหาที่ระบุถึงประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล การระบุวิธีดำเนินการวิจัยให้ชัดเจนย่อมส่งผลดีต่อการทำวิจัยปริญญาโทให้เป็นไปตามขั้นตอนและระยะเวลาตามที่กำหนดไว้

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย 

เป็นบทที่ 4 นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้วิจัยได้ไปเก็บรวบรวมข้อมูล โดยอาจนำเสนอในรูปแบบตารางหรือแผนภูมิให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย

ในบทที่ 4 นี้จะมีการแปลความหมายของผลการวิเคราะห์ข้อมูล แต่ต้องไม่แสดงความคิดเห็นที่มาจากผู้วิจัยลงไปในระหว่างการทำวิจัยปริญญาโท

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 

บทที่ 5 นำเสนอผลการวิจัยในประเด็นที่สำคัญ โดยมีทฤษฎีหรือหลักการที่ได้เขียนไว้แล้วในบทที่ 2 มาอภิปรายในประเด็นนั้นด้วย อีกทั้งยังต้องพิสูจน์สมมติฐานที่ได้กำหนดไว้ในบทที่ 1 ว่าสอดคล้องกับสมมติฐานหรือไม่สอดคล้องกับสมมติฐาน และต้องระบุข้อเสนอแนะสำหรับการนำไปใช้หรือการทำวิจัยปริญญาโทครั้งถัดไปไว้ด้วย

ซึ่งในช่วงแรก การทำวิจัยปริญญาโท เริ่มตั้งแต่การเสนอชื่อเรื่องและอาจารย์ที่ปรึกษา โดยต้องพิจารณาเลือกหัวข้อที่ผู้ทำวิจัยถนัด ความเป็นไปได้ การใช้ระยะเวลาในการจัดทำ รวมถึงการเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญในหัวข้อนั้นด้วย จากนั้นจึงเป็นการพิจารณาเค้าโครงวิจัย โดยจะมีผู้ทรงคุณวุฒิทำหน้าที่เป็นคณะกรรมการสอบเค้าโครงวิจัย

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

หลังจากเค้าโครงวิจัยผ่านการอนุมัติแล้วจึงดำเนินการทำวิจัย ภายใต้การแนะนำดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา โดยจำเป็นต้องเข้าพบอาจารย์อย่างต่อเนื่องและปรับแก้ไขงานวิจัยตามคำแนะนำของอาจารย์  หลังจากดำเนินการทำวิจัยเสร็จสิ้นแล้วก็จะมีการสอบปากเปล่าวิจัย 

หากมีการแก้ไขตามคำแนะนำจากคณะกรรมการก็ต้องทำให้ทันตามเวลาที่กำหนด รวมถึงต้องเผยแพร่ผลการวิจัยในวารสารวิชาการหรือการประชุมทางวิชาการด้วย

และสิ่งสำคัญ การทำวิจัยในปัจจุบันต้องนำไฟล์เอกสารวิจัยปริญญาโททั้งเล่มเข้าสู่โปรแกรมตรวจการคัดลอกอักขราวิสุทธิ์ เพราะถือเป็นจริยธรรมทางวิชาการ หากพบการคัดลอกหรือลอกเลียนวรรณกรรม ผู้วิจัยต้องปรับแก้ไขให้ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดก่อนจึงจะสำเร็จการศึกษา

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

You cannot copy content of this page

error: Content is protected !!